1. แก๊สนำไฟฟ้าได้ดีในสภาวะใด
ก. ความดันสูง ความต่างศักย์ต่ำ
ข. ความดันสูง ความต่างศักย์สูง
ค. ความดันต่ำ ความต่างศักย์สูง
ง. ความดันต่ำ ความต่างศักย์ต่ำ
ข. ความดันสูง ความต่างศักย์สูง
ค. ความดันต่ำ ความต่างศักย์สูง
ง. ความดันต่ำ ความต่างศักย์ต่ำ
2. ข้อใดไม่ใช่แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
ก. อะตอมมีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้
ข. อะตอมของธาตุต่างชนิดมีมวลนิวตรอนเท่ากันได้
ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน
ง. ธาตุทำปฏิกิริยาด้วยอัตราส่วนเลขลงตัวน้อย ๆ
ข. อะตอมของธาตุต่างชนิดมีมวลนิวตรอนเท่ากันได้
ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน
ง. ธาตุทำปฏิกิริยาด้วยอัตราส่วนเลขลงตัวน้อย ๆ
3. รังสีแคโทดเกิดจากส่วนใด
ก. ขั้วแคโทด
ข. แก๊สที่บรรจุภายใน
ค. ขั้วแคโทด และแก๊สที่บรรจุภายใน
ง. ขั้วแคโทด ขั้วแอโนดและแก๊ส
ข. แก๊สที่บรรจุภายใน
ค. ขั้วแคโทด และแก๊สที่บรรจุภายใน
ง. ขั้วแคโทด ขั้วแอโนดและแก๊ส
4. ข้อใดเป็นแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
5. แบบจำลองอะตอมของทอมสันและแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดต่างกันอย่างไร
ก. ชนิดของอนุภาคในอะตอม
ข. ตำแหน่งของอนุภาคในอะตอม
ค. จำนวนอนุภาคในอะตอม
ง. ขนาดอนุภาคในอะตอม
ข. ตำแหน่งของอนุภาคในอะตอม
ค. จำนวนอนุภาคในอะตอม
ง. ขนาดอนุภาคในอะตอม
6. จากการทดลองของโกลด์สไตน์
ทำให้ทราบได้ว่า
ก. รังสีบวกเกิดจากแก๊สที่บรรจุภายใน
ข. รังสีบวกไม่มีประจุไม่มีมวล
ค. รังสีบวกมีมวลเท่ากันเสมอ
ง. รังสีบวกมีอัตราส่วนประจุคงที่
ข. รังสีบวกไม่มีประจุไม่มีมวล
ค. รังสีบวกมีมวลเท่ากันเสมอ
ง. รังสีบวกมีอัตราส่วนประจุคงที่
7. เราทราบมวลอิเล็กตรอนจาการทดลองของใคร
ก. ทอมสัน
ข. มิลลิแกน
ค. รัทเทอร์ฟอร์ด
ง. ทอมสันและมิลลิแกน
ข. มิลลิแกน
ค. รัทเทอร์ฟอร์ด
ง. ทอมสันและมิลลิแกน
8. อิเล็กตรอน
5 กรัม มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่าใด
ก. 7.5 x 1028
ข. 1.6 x 1028
ค. 5.5 x 10 27
ง. 5.5 x 1028
ข. 1.6 x 1028
ค. 5.5 x 10 27
ง. 5.5 x 1028
9. อิเล็กตรอนมี e/m
เท่าใด
ก. 1.6 x 10–19 e/g
ข. 1.76 x 108 e/g
ค. 9.11 x 10–28 e/g
ง. 1.675 x 109 e/g
ข. 1.76 x 108 e/g
ค. 9.11 x 10–28 e/g
ง. 1.675 x 109 e/g
10. อิเล็กตรอน
2.1x1021 อิเล็กตรอนมีมวลเท่าใด
ก.1.8 x 10–5
ข.1.9 3x10–6
ค.2.8 x 10–5
ง.1.9 x 10–6
ข.1.9 3x10–6
ค.2.8 x 10–5
ง.1.9 x 10–6